The Fact About ด้วงสาคู That No One Is Suggesting

สำหรับช่องทางการตลาด มีการจำหน่ายผลผลิตผ่านตลาดท้องถิ่น ขายส่งให้ผู้รับซื้อจำหน่ายผ่านระบบออนไลน์จำหน่ายให้คนขายพันธุ์ และไว้บริโภคเอง ตลาดต่างประเทศที่สำคัญ เช่น ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป เป็นต้น

Your browser isn’t supported any more. Update it to get the most effective YouTube expertise and our hottest characteristics. Find out more

Your browser isn’t supported anymore. Update it to have the most effective YouTube expertise and our most up-to-date attributes. Find out more

ด้วงงวงมะพร้าว (ด้วงสาคู) เป็นแมลงพื้นถิ่นที่นิยมเลี้ยงและบริโภคกันมากในพื้นที่ภาคใต้ เนื่องจากมีพืชอาหารที่สำคัญคือ ต้นลานหรือต้นสาคู โดยจะเลี้ยงบนท่อนลาน หรือท่อนสาคู ต่อมาได้มีการพัฒนารูปแบบการเลี้ยงแบบประยุกต์ คือการนำไปเลี้ยงในกะละมัง และนำต้นสาคูบดมาเป็นอาหารเลี้ยงในกะละมัง ทำให้สะดวกในการเลี้ยงมากขึ้น สามารถใช้พื้นที่ในการเลี้ยงที่จำกัด ต่อมาได้ขยายพื้นที่การเลี้ยงไปยังภาคอื่น ๆ ในประเทศไทยอย่างรวดเร็ว เนื่องจากสามารถขนส่งสาคูบดไปยังทุกภูมิภาคต่าง ๆ ได้สะดวก นอกจากนี้ยังสามารถใช้พืชอาหารอื่นทดแทนต้นสาคูและต้นลานได้ เช่น มันสำปะหลังเนื่องจากมีลักษณะเป็นแป้ง จึงนำมาผสมเป็นสูตรอาหารสำหรับด้วงได้สะดวกมากขึ้น และในปัจจุบันมีผู้คิดค้นสูตรอาหารสำหรับเลี้ยงอย่างหลากหลาย จึงทำให้สามารถเลี้ยงได้ทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ด้วงงวงมะพร้าว (ด้วงสาคู) นำมาปรุงอาหารหลากหลายเมนู เช่น ทอด ด้วงสาคู ปิ้ง คั่วเกลือ ผัด เป็นต้น

การขยายพันธุ์ด้วงสาคูหรือด้วงมะพร้าว

ชื่อนักวิจัย รศ.ดร.มนัส ชัยจันทร์ และ รศ.ดร.วรวรรณ พันพิพัฒน์

– เตรียมท่อนสาคู หรือท่อนลาน ใช้เป็นท่อนเลี้ยงด้วงสาคู ตั้งตรงเรียงไว้บริเวณที่จะเลี้ยง มีความห่างพอเหมาะแก่การดูแล

หมวดหมู่: แมลงอบแห้ง ป้ายกำกับ: ด้วงสาคู, ด้วงสาคู, ด้วงสาคู รายละเอียด รายละเอียด

การนำมันสำปะหลังเหลือทิ้งนำมาแปรรูป ตากแห้งผสมกับวัสดุอื่นเป็นอาหารเลี้ยงด้วงมะพร้าว ใส่ไว้ในกะละมังเพาะเลี้ยงด้วงสาคู สามารถลดต้นทุนการเลี้ยงได้

การเลี้ยงตัวหนอนด้วงสาคูหรือด้วงมะพร้าว

วัสดุอะไรก็ได้ที่มีน้ำหนักพอจะทับฝาที่ปิดกะละมัง

บทความถัดไปเมนูอาหารใต้ เคล็ดลับ และ วิธีทำ แกงพริกไก่ใส่หน่อไม้ดอง พร้อมสูตร การทำพริกแกงใต้

แต่อย่างไรก็ตาม มีข้อแนะนำที่ควรระวังในการเลี้ยงด้วย เนื่องจากแมลงชนิดนี้เป็นศัตรูพืชที่เข้าทำลายต้นปาล์ม มะพร้าว ลาน และสาคู จึงไม่ควรปล่อยให้ตัวเต็มวัยเล็ดลอดสู่ธรรมชาติโดยเด็ดขาด

จับตัวด้วงตัวเต็มวัยที่ได้รวบรวมอีกกะละมังเพื่อคัดแยกเพศรอการผสมพันธุ์ก่อนนำไปปล่อยในกะละมังผลิตขยายหนอนด้วงสาคูต่อไป

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *